top of page

Loss

Sonata in E minor for Cello and Piano Op. 38

Brahms composed the first, originally three movements of his Cello Sonata in E minor Op. 38 in the summer of 1862. He deleted the Adagio later and probably destroyed it. It was only three years later, in June 1865, that he wrote the finale. The composition was published the following year, but had to wait until 1871 until it was performed for the first time in public. All three movements of the sonata make more or less clear reference to models Brahms studied intensively. Whereas the beginning of the first movement is reminiscent of the opening of Beethoven’s Cello Sonata in A major Op. 69, the Allegretto has an affinity to the world of Schubert’s dances for piano. The finale, in turn, is a direct recourse to the Contrapunctus 13 in Bach’s Art of the Fugue.

Brahms ได้แต่งเพลงนี้ไว้ทั้งหมด 3 ท่อนใน Cello Sonata in E minor Op. 38 แต่งในช่วงฤดูร้อนในปี ค.ศ.1862 เขาไม่ได้เขียนท่อนช้าที่เป็น Adagio ไว้ ใช้เวลาในการแต่งเพลงทั้งหมด 3 ปี เขาก็ได้เขียนเพลงเสร็จในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1865 เขาได้ตีพิมพ์วางขายประมาณปี ค.ศ.1871 และเป็นช่วงเวลาเดียวกันกับการแสดงเพลงนี้ครั้งแรก ทั้ง 3 ท่อนของ Sonata บทนี้ ได้สร้างความเป็น Brahms ไม่น้อยก็มาก เริ่มต้นเพลงของท่อนที่1 จะมีความคล้ายกับเพลง Beethoven’s Cello Sonata in A major Op. 69 ท่อน Allegretto จะได้แนวคิดมาจากเพลงเต้นรำของ Schubert ที่แต่งสำหรบ Piano ท่อนสุดท้าย จะให้หวนกลับไปในรูป แบบ Contrapunctus 13 ใน Art of the Fugue ของ Bach

240488003_1060712861402460_587488290562306924_n.jpg
lrg_01.jpg

  It was while Brahms was on summer holiday with Clara Schumann that he began work on the First Cello Sonata. At Bad Münster, near Hamburg, in summer 1862, he wrote the first two movements and possibly an Adagio which was not included in the final version. The fate of this movement and the possibility it never existed in the first place has been the subject of debate by Brahms scholars for more than a century now. Only in 1865 did Brahms find the inspiration, after his mother’s death and The first movement, marked Allegro non troppo, is in sonata form with a clear exposition, development, and recapitulation, although its division of themes is less clear. Instead, the themes seem to grow out of one another, according to a feature in Brahms’s music which Arnold Schoenberg would later term, “developing variation.” 

ในขณะที่บราห์มส์อยู่ในช่วงวันหยุดฤดูร้อนกับคลาราชูมันน์เขาเริ่มเขียน Cello Sonata บทแรก ที่ Bad Münsterใกล้เมืองฮัมบูร์กในฤดูร้อนปี 1862 เขาเขียนท่อนที่สองครั้งแรกและอาจเป็น Adagio ซึ่งไม่รวมอยู่ในเวอร์ชันสุดท้าย ชะตากรรมของขบวนการนี้และความเป็นไปได้ที่ไม่เคยมีมาตั้งแต่แรกเป็นเรื่องที่นักวิชาการของบราห์มส์ถกเถียงกันมากว่าศตวรรษแล้ว ในปีค. ศ. 1865 Brahms ได้ค้นพบแรงบันดาลใจหลังจากการเสียชีวิตของแม่ของเขาและท่อนแรกที่มีชื่อว่า Allegro non troppo อยู่ในรูปแบบ Sonata ที่มีการจัดแสดงการพัฒนาและการสรุปเนื้อหาที่ชัดเจนแม้ว่าการแบ่งธีมจะไม่ค่อยชัดเจน ในทางกลับกันธีมดูเหมือนจะเติบโตขึ้นจากกันและกันตามลักษณะในดนตรีของเขา

The opening Allegro non troppo immediately presents the lyrical main theme, followed by a more energetic second theme. After a dramatic development, the reprise is written in usual fashion, until the final section turns very effectively to E major, allowing the movement to die away peacefully. 

เริ่มต้นด้วยท่อนที่ 1 Allegro non troppo จะเริ่มด้วยแนวทำนองที่เป็นแนวทำนองหลัก และให้ความรู้สึกที่มีพลังตามมาในแนวที่ 2 หลังจาช่วงที่เป็นที่เป็นความรู้สึกเร้าอารมณ์ จะย้อนกลับเข้าไปในแนวทำนองเดิม แต่ให้ความรู้สึกที่แปลกใหม่ และในช่วงสุดท้ายของเพลงจะเปลี่ยนคีย์ เป็น E Major ให้ความรู้สึกที่เหมือนกับ “การจากไปอย่างสงบ”

 

bottom of page